เรื่องเพศ
“เพศ” หมายถึง รูปที่แสดงให้รู้ว่า หญิง หรือ ชาย ซึ่งหากจะตีความกันแต่เพียงว่า “เพศ” คือ ลักษณะบอกให้ใครๆ รู้ว่าบุคคลนั้นๆ เป็น “ผู้หญิง” หรือ “ผู้ชาย” ในลักษณะของรูปธรรมเท่านั้น ก็เป็นการยากที่จะเข้าใจความหมายของความรู้เรื่องเพศได้อย่างสมบูรณ์ สำหรับความหมายของเพศในลักษณะนามธรรมนั้น “เพศ” หมายถึง “ความรู้สึกและความต้องการทางเพศ หรือกามารมณ์” ในทรรศนะของคนทั่วไป คำว่า “เรื่องเพศ” หรือ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า “เซ็กส์ (sex)” มีความหมายที่กำกวม ตีความได้หลายความหมาย เช่น บางครั้งคำว่า “เซ็กส์ (sex)” หมายถึง ลักษณะทางกายภาพที่บอกว่าเป็นเพศชายหรือหญิง บางครั้งหมายถึงแรงขับหรือสัญชาตญาณตามธรรมชาติของมนุษย์ที่แสดงออกเป็นพฤติกรรมหนังโป๊ออนไลน์ บางครั้งหมายถึงพฤติกรรมทางเพศ หรือการมีเพศสัมพันธ์ อย่างไรก็ตามจากหลักฐานทางภาษาในวาทกรรมของสังคมไทย นักสังคมวิทยา 2 ท่าน คือ เนริดา คุค และ ปีเตอร์ แจกสัน (Nerida M. Cook and Peter A. Jackson, 1999) อภิปรายไว้ในหนังสือ “Genders & Sexualities in Modern Thailand” ว่า ในวาทกรรมไทยคำว่า “เพศ (phet)” คำเดียวมีความหมายครอบคลุมวาทกรรมในสังคมตะวันตกปัจจุบันดังนี้
1. ลักษณะทางชีวเพศ (biological sex) ที่บอกว่าเป็นเพศชายหรือหญิง เช่น เพศผู้ เพศเมีย
2. ความเป็นเพศ (gender) เช่น เพศชาย เพศหญิง
3. ภาวะทางเพศ (sexuality) เช่น รักร่วมเพศ (ร่วมสังวาส) รักสองเพศ และรักต่างเพศ
4. การร่วมเพศ (sexual intercourse) เช่น ร่วมเพศ เพศสัมพันธ์แบบหนังโป๊ออนไลน์
ดังนั้น คำว่าเพศในภาษาไทย จึงมีความหมายครอบคลุมคำว่า sex, gender หรือ sexuality ด้วยส่วนคำว่า “ศึกษา (education)” หมายถึง กระบวนการเรียนรู้เพื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรม เมื่อนำคำทั้งสองมาผสมกัน เป็นคำว่า เพศศึกษา จึงมีนักวิชาการให้คำจำกัดความที่หลากหลาย แต่คำจัดกัดความเหล่านั้นมีความหมายที่คล้ายคลึงกัน
ความรู้เรื่องเพศ (Sex information)
สามารถแบ่งเป็นลักษณะใหญ่ ๆ 4 ด้าน ได้แก่
1. ความรู้ด้านชีววิทยา (Biological aspect) เช่น กายวิภาคและสรีรวิทยาของระบบสืบพันธุ์ของ มนุษย์ทั้งชายและหญิง ลักษณะทางพันธุกรรมและสุพันธุกรรม (Genetic and Eugenic)
2. ความรู้ด้านสุขวิทยา (Hygienic aspect) เช่น เรื่องเกี่ยวกับการป้องกันการเจ็บป่วยและ ส่งเสริมสุขภาพทางเพศ สุขวิทยาส่วนบุคคลเกี่ยวกับอวัยวะเพศ
3. ความรู้ด้านจิตวิทยา (Psychological aspect) เช่น เรื่องที่เกี่ยวกับสภาวะจิตใจและอารมณ์ใน เรื่องเพศ การปรับตัวเข้ากับเพศเดียวกันและต่างเพศ ความรู้สึก ทัศนคติต่อเรื่องเพศ และต่อเพศ ตรงข้าม เป็นต้น
4. ความรู้ด้านสังคมวิทยาและวัฒนธรรม (Sociological and cultural aspect) เช่น เรื่องเกี่ยวกับ พัฒนาการทางเพศในด้านสังคม เช่น ความสัมพันธ์กับเพศเดียวกันและต่างเพศ เพศสัมพันธ์ เช่นหนังโป๊ออนไลน์เลสเบี้ยน หนังโป๊ออนไลน์เกย์
บทบาทสำคัญของเพศศึกษา (Significant roles of sex education)
1. ช่วยให้แต่ละคนเข้าใจและยอมรับหน้าที่ตามเพศของตน
2. เข้าใจความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันในฐานะเพื่อน ให้เกียรติกัน
3. ตระหนักถึงความแตกต่างในลักษณะการนึกคิดและพฤติกรรมทางเพศและยอมรับความ แตกต่าง
4. เข้าใจการเลือกคู่
5. เข้าใจการเตรียมตัวรับผิดชอบต่อครอบครัว
6. เข้าใจการเลี้ยงดูบุตรธิดาให้เติบโตเป็นพลเมืองดี
วัฒนธรรมทางเพศในสังคมไทย (Sexual culture in Thai society)
วัฒนธรรมความเชื่อเรื่องเพศเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการควบคุมภาวะทางเพศของคนในสังคม และเป็นแนวทางในการแสดงออกของพฤติกรรมทางเพศตามหนังโป๊ออนไลน์ของปัจเจกบุคคลทั้งเพศหญิงและเพศชายที่แตกต่างกัน เช่น ความเชื่อว่า ผู้ชายเป็นมนุษย์เพศที่เหนือกว่าผู้หญิง ผู้หญิงอ่อนแอกว่าผู้ชาย และผู้หญิงเป็นทรัพย์สมบัติของผู้ชาย ความเชื่อที่ว่าความต้องการทางเพศของผู้ชายเป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องได้รับการตอบสนองและหาทางปลดปล่อย ในขณะที่เพศหญิงไม่จำเป็นต้องทำเช่นผู้ชาย ความเชื่อที่ว่า ผู้ชายชาตรีต้องมีความสามารถในเรื่องเพศ แต่ผู้หญิงที่ดีไม่ควรแสดงออกเกี่ยวกับเรื่องเพศ เป็นต้น
ในปัจจุบันแม้ว่าสภาพสังคมจะเปลี่ยนไป มีการผสมผสานวัฒนธรรมทางเพศของไทยและต่างประเทศผ่านกระแสโลกาภิวัฒน์ แต่วัฒนธรรมไทยดั้งเดิมหลายอย่างยังมีส่วนกำหนดพฤติกรรมของคนในสังคมอยู่มากการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจโดยห้ามการขายและแพร่หนังโป๊ออนไลน์ทำให้มีผลกระทบต่อสังคมเป็นอย่างมากการอพยพแรงงานจากภาคเกษตรกรรมเข้ามาสู่ภาคอุตสาหกรรม หนุ่มสาวต้องพรากจากสังคมเดิมเข้ามาอยู่ในสภาพใหม่ ไม่มีพ่อแม่หรือญาติให้การคุ้มครองหรือปรึกษาหารือการพบปะของหนุ่มสาวง่ายขึ้น ประกอบกับการยอมรับวัฒนธรรมอื่นทั้งวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออก ทำให้การแสดงออกทางเพศของคนในสังคมเปลี่ยนไป
รูปแบบของเพศสัมพันธ์ในสังคมสามารถจัดได้เป็นสองลักษณะ คือ
1. เพศสัมพันธ์แบบรักต่างเพศ (Heterosexuality) เป็นเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิงตามแบบทั่วไปในฉบับหนังโป๊ออนไลน์ และถือว่าเป็นพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ์ของคนส่วนใหญ่ เนื่องจากหน้าที่ของเพศสัมพันธ์ในด้านการขยายเผ่าพันธุ์ ดังนั้นคนส่วนใหญ่จึงยอมรับและเข้าใจว่าเพศสัมพันธ์แบบชายกับหญิงเท่านั้นที่เป็นพฤติกรรมปกติ
2. เพศสัมพันธ์แบบรักเพศเดียวกัน (Homosexuality) เป็นความสัมพันธ์ทางเพศระหว่างชายกับชาย หรือหญิงกับหญิงอย่างใดอย่างหนึ่งเนื่องจากสังคมไทยถือว่าเพศสัมพันธ์ระหว่างชายกับหญิงเป็นเพศสัมพันธ์ปกติ ดังนั้นพฤติกรรมรักร่วมเพศจึงกลายเป็นพฤติกรรมที่ผิดปกติเบี่ยงเบนไปจากบรรทัดฐานของสังคมอย่างไรก็ตาม บางคนอาจจะมีพฤติกรรมทางเพศ